Topics

หัวข้อด้านการแพทย์สำหรับ Plenary และ Parallel Sessions
(Bio-Medical topics for Plenary and Parallel Sessions)
1. เวชศาสตร์ชะลอวัย: มิติใหม่ทางการแพทย์?
(Anti-Ageing: a New Dimension of Medicine?)
2. การเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนและต่อมไร้ท่อในภาวะสูงอายุ
(Male and Female Endocrinology of Ageing: What We Should Know?)
3. การตรวจเช็คสุขภาพและคัดกรองโรคมะเร็งในผู้สูงวัย: จำเป็นหรือมากไป
(Health & Cancer Screening in Elderly: Required or Redundant?)
4. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย: เมื่อไหร่จะหยุดใช้เทคโนโลยี?
(Palliative Care: When to Stop?)
5. โรคไตเรื้อรังในผู้สูงวัย
(Handle the Burden of Chronic Kidney Disease in Elderly?)
6. โรคหลอดเลือดแข็งที่เกิดกับหัวใจ สมอง และหลอดเลือดส่วนปลาย
กับภาวะเร่งด่วนทางการแพทย์
(Chronic Atherosclerotic Diseases (Stroke, CAD, PAD):
Acute Presentation with Emergency Management)
7. เวียนศีรษะในผู้สูงวัย: เรื่องธรรมดาหรือภาวะอันตราย
(Ageing Vertigo: Is It Malignant or Benign?)

8. ก้าวล้ำ นำยุค กับการรักษาภาวะจอตาเสื่อมในผู้สูงวัย
(Breakthrough Treatment for Age-related Macular Degeneration)
9. ปัญหาการกลืนและสำลักในผู้สูงวัย
(Swallowing Difficulty and Aspiration in Elderly)
10. โรคข้อเสื่อม: จะหลีกเลี่ยงการผ่าตัดได้หรือไม่
(Osteoarthritis: Is Surgery Avoidable?)

11. สมองเสื่อม: การวินิจฉัยเบื้องต้นและการป้องกัน
(Dementia: Prevention and Early Detection)
12. ฟันดี สุขภาพดี ในผู้สูงวัย
(Good Teeth is Good health for Elderly?)
13. ทำอย่างไรจะป้องกันและรักษา ภาวะกระดูกและมวลกล้ามเนื้อลดลงในผู้สูงวัยได้ ?
(How to Prevent and Treat Osteo-sarcopenia in Elderly?)
14. ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ของผู้สูงวัย
(Incontinence in Elderly: Cause, Cure & Care)
15. ระบบภูมิคุ้มกันในผู้สูงวัย
(Immune System and Ageing)
16. มากหมอมากยาในผู้สูงวัย: ผลกระทบและความต่อเนื่อง
(Poly-pharmacy in Ageing: Consequence and Compliance)

หัวข้อด้านสหสาขาบูรณาการสำหรับ Plenary และ Parallel Sessions

(Integrative topics for Plenary and Parallel Sessions)
การดูแลผู้สูงวัยโดยใช้สหสาขาบูรณาการ (Integrative Elderly Care)
1. การดูแลผู้สูงวัยในภาพรวม
(Integrative Elderly Care)
2. การดูแลผู้สูงวัยต่อเนื่องจากโรงพยาบาลถึงชุมชน
(Continuum of Care for Elderly: from Hospital to Community)

3. การดูแลผู้สูงวัยระยะยาว: มิติด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสุขภาพ
(Long-Term Care for Elderly: Social, Cultural, Economic
and Health Dimensions)
4. จากงานวิจัยสู่การปฏิบัติ: ต้นแบบสำหรับการดูแลผู้สูงวัยระยะยาว
(Translate Research into Practice: the Integrative Models
for Long-term Care for the Elderly)
5. การพัฒนาศักยภาพของผู้สูงวัยสำหรับการดูแลตนเองแบบครบวงจร
(Capacity Building of Elderly for Comprehensive Self Care)
6. ผู้สูงวัยเป็นอาสาสมัครดูแลในโรงพยาบาล
(Elderly as Volunteer Caregivers in Hospital Setting)
7. ผู้สูงวัยเป็นอาสาสมัครดูแลในชุมชน
(Elderly as Volunteer Caregivers in Community Setting)
8. ปรองดองต่างวัยเพื่อการดูแลผู้สูงวัย
(Better Elderly Care by Two Generation Cooperation)
9. การลดช่องว่างและสานความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงวัยและเยาวชน
(Bridging the Gap between the Elderly and Youths)
10. ระบบอาสาสมัครสำหรับการบริการผู้สูงวัย
(Volunteer System for Elderly Services)
11. ตัวอย่างความสำเร็จของบ้านดูแลผู้สูงวัยของเอกชน
(A Success Story of Private Nursing Home)
12. การหกล้มในผู้สูงวัย: ปัจจัยทางสุขภาพและสภาวะแวดล้อม
(Fall in Elderly: Health and Environmental Factors)
13. การคุ้มครองผู้สูงวัย
(Protection of the Elderly)
14. สมุนไพรสำหรับผู้สูงอายุ
(Herbs and the Elderly)

การดูแลที่นอกเหนือจากการแพทย์ (Care Beyond Medicine)

15. เรื่องเล่าน่ารู้เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงวัยที่นอกเหนือจากการแพทย์
(Untold Stories of Nursing Care for the Elderly Beyond Medicines)
16. การแพทย์แบบมนุษยธรรมสำหรับผู้สูงวัย
(Humanistic Medicine for the Elderly)
17. ปัญหาสุขภาพที่ถูกมองข้ามในผู้สูงวัย
(Elderly Health Unseen)
18. ความเข้มแข็งด้านจิตใจและจิตวิญญาณของผู้สูงวัย
Psycho-spiritual Strength of the Elderly:
• Death Expectance and Spiritual Maturation
• The Dying that Changes My Life

การส่งเสริมคุณภาพชีวิตและระบบสนับสนุนสำหรับผู้สูงวัย
(Quality of Life Improvement and Support System for Elderly)
19. ระบบสนับสนุนสำหรับผู้สูงวัย โดย ครอบครัว ชุมชน และรัฐ
(Support for the Elderly: Family, Community, and Government)
20. การส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการสงเคราะห์ผู้สูงวัย: ตัวอย่างจากเหล่ากาชาดจังหวัด
(Improving Quality of Life and Welfare of the Elderly: Examples of
Provincial Red Cross Chapters)
21. การบริการสมัยใหม่เปรียบเทียบกับการบริการโดยชุมชนสำหรับผู้สูงวัย
(Modern and/or Community-Based Services for the Elderly?)
22. เงิน ทอง ทรัพย์สิน ของผู้สูงวัย กับคุณภาพชีวิต
(Financial Assets of the Elderly for Quality of Life)

23. คุณค่าและทุนที่ไม่ใช่เงินตรา ของผู้สูงวัยกับคุณภาพชีวิต
(Non-financial Assets of the Elderly for Quality of Life)
24. ผู้สูงวัยกับการศึกษา
(The Elderly and Education)

ความเป็นผู้นำและคุณค่าของผู้สูงวัย
(Leadership and Value of Elderly)
25. ความเป็นผู้นำที่เข้มแข็งของผู้สูงวัยในบริบททางสังคม วัฒนธรรม
การศึกษาการเมืองและเศรษฐกิจ
(Active Leadership of the Elderly in Social, Cultural, Educational,
Political and Economic Context)
26. คงคุณค่าผู้สูงวัยในภาคแรงงานได้อย่างไร
(Retaining the Elderly and their Value in Active Labor Force)
27. คุณค่าและภูมิปัญญาของผู้อาวุโส
(Value and Wisdom of Older Persons)
28. ภูมิใจที่สูงวัย
(Proud to be Elderly)
29. อายุเท่าไรจึงจะเป็นผู้สูงวัย
(Becoming Elderly at What Age)

นวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการสูงวัยที่ทรงพลังและมีความสุข
(Innovative Ways to promote Happy Active Ageing)
30. เสริมสร้างการสูงวัยที่ทรงพลังและคงผลิตภาพ
(Enabling Active and Productive Ageing)

31. นวัตกรรมในการเยียวยาความว้าเหว่ของผู้สูงวัย
(Innovative Ways to Remedy Loneliness of the Elderly)
32. สมาร์ทโฟนกับผู้สูงวัย: ช่วยได้หรือเลวร้ายลง
(Smartphone and the Elderly: Is it Better or Worse?)
33. นวัตกรรมเพื่อชีวิตอิสระมีคุณค่าพึ่งพาตนเองได้ของผู้สูงวัย
(Innovation in Independent Living of the Elderly)
34. วัดความสุขของผู้สูงวัยได้อย่างไร
(How to Measure Happiness of the Elderly)

เมือง ชุมชน ที่พักและการอยู่อาศัยของผู้สูงวัย
(City, Community, Housing and Living arrangements for the Elderly)
35. สวางคนิเวศ สภากาชาดไทย: ต้นแบบที่พักผู้สูงวัย
(Thai Red Cross Model for Elderly Housing Services)
36. เมืองที่ไม่เร่งรีบ เพื่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัย
(Slow City for Quality of Life of the Elderly)
37. ระบบเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของผู้สูงวัย
(Systems for Better Living of the Elderly)
38. การอยู่อาศัยและสถานะสุขภาพของผู้สูงวัย
(Living Arrangements and Health Status for the Elderly)
39. ชุมชนต้นแบบสำหรับผู้สูงวัย
(Community Model for the Elderly)

งานวิจัยและต้นแบบที่จำเป็นและสำคัญเพื่อส่งเสริมชีวิตผู้สูงวัยที่ทรงพลัง
(Critical Needs for Research and Model for Active Ageing)
40. ช่องว่างและประเด็นสำคัญสำหรับการวิจัยเพื่อเตรียมการสู่สังคมสูงวัยที่ทรงพลัง
(Gaps and Priorities in Research to Prepare for Active Ageing Society)
41. ต้นแบบของการทำโครงการร่วมระหว่างหน่วยงาน หรือพื้นที่เพื่อส่งเสริมชีวิตผู้สูงวัย
ที่ทรงพลัง
(Models on Joint Projects between Agencies or Areas for Active Ageing)

Symposium
• ต้นแบบใหม่ของศูนย์ดูแลรักษาผู้สูงวัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
(New Model for Elderly Treatment and Care Center at King Chulalongkorn
Memorial Hospital)
• การวิจัยสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย
(Research, Invention and Innovation for Improving Quality of Life of
the Elderly)
• สัมมนาอาเซียน เรื่องการเตรียมการสู่สังคมสูงวัย
(The ASEAN+ Symposium on Preparation for Ageing Society (Models and
lessons learn on preparing for an Active Ageing Society, as well as
obstacles and solutions such as on, economic and social services, elderly
in workforce, etc.))
• สังคมสูงวัยในปี พ.ศ. 2577: ความท้าทายด้านการอยู่อาศัย การออกแบบเมือง
การทำงาน สุขภาพ และการเปลี่ยนแปลงทางประชากร
(Elderly in B.E.2577: Facing Critical Challenges: Living Arrangement,
City Planning, Work, Health and Population Change)

• เทคโนโลยีใหม่สำหรับชีวิตสูงวัยที่ทรงพลัง
(Modern Technology for Active Ageing)
• การพัฒนาผู้สูงวัยตามเป้าหมายการพัฒนาแบบยั่งยืน
(Elderly Development for Sustainable Development Goals)
• จะพัฒนาระบบประกันสังคมที่ยั่งยืน สำหรับผู้สูงวัยได้อย่างไร
(How to Develop Sustainable Social Security System for the Elderly)

“หัวข้อเรื่องในการจัดประชุมนี้ อาจมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมยิ่งขึ้น โดยมิได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า”
(Please be informed that the subjects and topics in this document are subject to
change without prior notice)
เชิญส่งบทคัดย่อ เพื่อนำเสนอผลงาน/ ประสบการณ์ ใน Parallel sessions
หรือ e-Poster ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558
We invite you to submit the abstract of your works/ experiences for
the Parallel sessions or e-Poster within 20 Feb 2015